• April 27, 2024
เปรียบเทียบราคา ประกัน

เทคนิคเคล็ดไม่ลับการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพัง

ในช่วงที่น้ำท่วมแบบนี้ เพื่อนๆ ผู้ขับขี่ทั้งหลายต้องห้ามพลาดบทความนี้เลย เพราะบทความนี้เรามีเทคนิคเคล็ดไม่ลับการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพังมาฝาก แต่เทคนิคเคล็ดไม่ลับการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพังที่เรานำมาฝากกันในบทความนี้จะมีเทคนิคอะไรดีๆ ที่น่าสนใจบ้างนั้น ต้องตามมาหาคำตอบกันได้ที่ด้านล่างบทความนี้เลย

เทคนิคเคล็ดไม่ลับการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพัง

  • วิธีการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพัง คือ ประเมินความลึกของน้ำ ถ้าทางข้างหน้ามีน้ำท่วมขัง ควรประเมินความลึกของน้ำด้วยการเช็คกับระดับฟุตบาท โดยฟุตบาททั่วไปจะมีความสูงตั้งแต่ 10-30 เซนติเมตร ดังนั้น หากน้ำท่วมเอ่อล้นปริ่มฟุตบาท แสดงว่าระดับน้ำค่อนข้างสูงจนเป็นอันตรายสำหรับรถเก๋งทั่วไปได้
  • วิธีการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพัง คือ ขับรถลุยน้ำด้วยความเร็วต่ำ หากประเมินแล้วว่าระดับน้ำไม่สูงจนเกินไป (ไม่เกิน 30 เซนติเมตรสำหรับรถเก๋งปกติ) ให้ขับรถผ่านไปด้วยความเร็วต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะหลายคนเข้าใจผิดว่าการขับรถลุยน้ำ จะต้องเร่งเครื่องให้รอบเครื่องยนต์ขึ้นสูงเพื่อป้องกันรถดับ แต่ความเป็นจริงเป็นเรื่องที่ผิดมหันต์ เพราะน้ำที่ท่วมขังจะกระฉอกอย่างรุนแรง ขณะที่การเร่งเครื่องจะทำให้เครื่องยนต์ดูดอากาศเข้าไปเผาไหม้อย่างรุนแรงเช่นกัน ซึ่งถ้าน้ำถูกดูดเข้าไปแล้วล่ะก็ รับรองว่าก้านสูบหัก เครื่องยนต์ดับ เครื่องยนต์น็อค กลายเป็นเรื่องใหญ่อย่างแน่นอน ดังนั้นจึงควรใช้ความเร็วให้ช้าที่สุด เดินคันเร่งให้เนียน ให้จำไว้ว่าตราบใดที่น้ำไม่ถูกดูดเข้้าไปยังห้องเผาไหม้ รถจะไม่มีทางดับอย่างแน่นอน
  • วิธีการขับขี่ลุยน้ำท่วมแบบไม่ให้รถพัง คือ ใช้เลนที่ระดับน้ำต่ำที่สุด บนถนนที่มีน้ำท่วมขังมักมีการชะลอตัวของจราจร เพราะหลายคนจะหลีกไปใช้เลนที่มีน้ำตื้นที่สุด ดังนั้นจึงไม่ควรใจร้อนขับในเลนที่มีน้ำท่วมขังสูง เพราะหากเกิดเครื่องยนต์น็อคขึ้นมา นอกจากจะต้องเสียเงินซ่อมรถแล้ว ยังเสียหน้ารถคันอื่นอีกต่างหาก

อย่างไรก็ตาม หากรถของคุณเกิดพังก่อนที่จะได้มาอ่านบทความนี้ และคุณจำเป็นต้องซื้อรถใหม่ เราขอแนะนำให้คุณเปรียบเทียบราคา ประกันดูก่อน รถใหม่ต้องทำประกันก็จริง แต่หากไม่เปรียบเทียบราคา ประกันดูก่อนคุณอาจได้จ่ายในราคาที่แพงหูฉี่ก็ได้ และที่สำคัญนอกจากการเปรียบเทียบราคา ประกันแล้ว ก็อย่าลืมที่จะเปรียบเทียบรายละเอียดประกันแต่ละเจ้าด้วยนะ